เฝ้าระวังน้ำท่วมหาดใหญ่ - Hatyai City Climate . ORG

Topic List

111 items|« First « Prev 4 5 (6/12) 7 8 Next » Last »|
Submitted by Little Bear on 23 พ.ค. 55 09:01

ผู้เขียน: ณรงค์ คงมาก , ดร.ปกรณ์ ดิษฐกิจ , ศุภกร ชินวรรณโณ , รศ.ดร.สายัณห์ สดุดีพิมพ์เมื่อ: มีนาคม 2555เอกสารประกอบการเวที Global Warming Forum ครั้งที่ 3 ปีที่ 3 (เวทีสัญจร นครศรีธรรมราช)มีหัวข้อเรื่อง"ชุมชนกับการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ บทเรียนจากพื้นที่และข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย" โ

Submitted by Little Bear on 20 พ.ค. 55 12:46

อาจจะฟังดูไม่ค่อยเกี่ยวกันสักเท่าไรว่ารังสีคอสมิกที่มาจากอวกาศจะมาช่วยลดผลของภาวะโลกร้อน แต่นักวิทยาศาสตร์สังเกตเห็นความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกและปริมาณรังสีคอสมิกที่พุ่งเข้าชนโลกมาตั้งหลายปีแล้ว และการทดลองในปี 2011 จาก CERN เผยให้เห็นว่ารังสีคอสมิกอาจมีผลต่อการก่อตัวของเมฆและรบกวนสภาพภ

Submitted by Little Bear on 13 พ.ค. 55 11:11

กฎบัติลัทธิชุมชนเมืองยุคใหม่ : บทบาทการวางผังเมืองและการออกแบบเมืองเพื่อความยั่งยืนของโลก (Charter of the New Urbanism)

โดย ฐาปนา บุญยประวิตร

วันนี้จะกล่าวถึงบทบาทของสำนักคิดการพัฒนาเมืองที่รู้จักกันในนามของ Congress for The New Urbanism - CNU หรือภาษาไทยเรียกว่า "กลุ่มลัทธิชุมชนเมืองยุคใหม่" สืบเนื่องจาก CNU ได้ยกร่างกฎบัตรการพัฒนาเมืองหรือที่เรียกว่า Charter of the New Urbanism ประกอบด้วยเกณฑ์การพัฒนาจำนวน 27 ข้อ แม้เกณฑ์จะมีเนื้อหาครอบคลุมทุกบริบทในการพัฒนาแล้ว แต่จากการแผ่ขยายของเมืองไปยังพื้นที่การเกษตรและพื้นที่ธรรมชาติอย่างไม่มีจุดสิ้นสุด ได้ส่งผลกระทบในวงกว้างต่อระบบการพัฒนาเมืองและสภาพแวดล้อม ที่เห็นได้ชัดได้แก่ ผลกระทบจากการเผาผลาญน้ำมันและการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ กายภาพเมือง และระบบการผลิตอาหาร ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน

ด้วยเหตุนี้ ในการประชุมประจำปี ค.ศ. 2012 CNU จึงได้มีมติให้เพิ่มกลยุทธ์อีก 10 ข้อ ซึ่งจะเป็นแนวทางในการวางผังและออกแบบเมืองที่เชื่อว่าสามารถหยุดยั้งหรือบรรเทาผลกระทบดังกล่าวได้ นอกจากนั้น กลยุทธที่เพิ่มเติมจะเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างสรรค์สภาวะแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น เนื่องจากกลยุทธ์ทั้ง 10 ข้อถือเป็นนวัตกรรมการพัฒนาเมืองซึ่งยังไม่พบว่ามีสถาบันการศึกษาและหน่วยงานในประเทศไทยและทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เคยศึกษาหรือปฏิบัติ ดังนั้น บทความนี้จึงจะสรุปสาระสำคัญและชี้ให้เห็นแนวทางที่เหมาะสมเพื่อให้นักผังเมืองและผู้บริหารเมืองนำไปประยุกต์ใช้ต่อไป

ดาวน์โหลดบทความฉบับสมบูรณ์

ที่มา asiamuseum.co.th

Submitted by Little Bear on 19 เม.ย. 55 20:38

บทความ โการกำหนดมาตรการด้านผังเมืองเพื่อแก้ไขปัญหาและรับมือภัยธรรมชาติในระดับจังหวัดและอำเภอโโดย ดร.จำเนียร วรรัตน์ชัยพันธ์ ผู้อำนวยการอาวุโส มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย และ สำราญ มีสมจิตร นักผังเมือง และเจ้าหน้าที่วิชาการ มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ซึ่งเป็นประโยชน์ในสถานการ

Submitted by Little Bear on 17 เม.ย. 55 23:33

บทความ "เสริมสร้างศักยภาพท้องถิ่นรับวิกฤตสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติทางธรรมชาติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโ : องค์ความรู้และทักษะเพื่อสร้างท้องถิ่นน่าอยู่และยั่งยืน" โดย ดร.จำเนียร วรรัตน์ชัยพันธ์ ผู้อำนวยการอาวุโส สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย และ น.ส.กาญจนา วิเศษ เจ้าหน้าที่วิจัย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย

Submitted by Little Bear on 14 มี.ค. 55 22:41

ไฟล์ข้อมูลความรู้ จากสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย คู่มือ การจัดการความเสี่ยงจากอุทกภัยของเมือง (Cities and Flooding : A Guide to Integrated Urban Flood Risk Management for the 21st Century) เป็นประโยชน์สำหรับทุกท่านโดยเฉพาะคณะทำงาน ACCCRN หาดใหญ่

Submitted by Little Bear on 12 มี.ค. 55 19:59

Submitted by Little Bear on 22 ก.พ. 55 21:43

Handbook "Climate Vulnerability and Capacity Analysis" (ภาษาอังกฤษ) ซึ่งเป็นคู่มือ ที่มีประโยชน์สำหรับการดำเนินโครงการ โดยเฉพาะงานด้านชุมชน คุ่มือฉบับนี้ เหมาะสำหรับใช้เป็นแนวทางกว้า งๆ ในการดำเนินงานในระดับพื้นที่ครับ โดยเฉพาะ participatory tools เพราะโครงการต้อง engage หน่วยงานและภาคประชาชน

111 items|« First « Prev 4 5 (6/12) 7 8 Next » Last »|